สารบัญ
๑. ธรรมของพระพุทธเจ้าไม่มีสิ่งใดเทียบเท่าเสมอเหมือน
– เมื่อใจสะอาด ความวินาศแห่งจิตจะเบาบาง
– จิตที่มีธรรมะ ย่อมชนะกิเลสทั้งปวง
– เหยื่อล่อปลา
๒. ชนะกิเลสให้ได้เพื่อสลายความเป็นทาส
– ไม่ชำระใจให้สะอาด ย่อมเป็นทาสกิเลส
– ข้ออ้างของคนพาล
๓. ความเพียร คือเข็มทิศสู่วิมุตติ ความหลุดพ้น
– ความเกียจร้านคือเหตุผลาญสมบัติตน
– สนิมกินใจ จึงทำให้ใจอ่อนแอ
– ขจัดสนิมในใจ ให้ใช้ศีล สมาธิ ปัญญา
– ปล่อยใจให้กิเลสเกาะก็เปราะบางแตกง่าย
– มีน้ำใจ ให้ทาน ถือเป็นการขัดสนิมใจ
– มัวท้อแท้เกียจคร้าน พระนิพพานก็ไม่เกิด
– ตั้งใจ ไม่เกียจคร้าน พระนิพพานก็เกิด
– มีสติกับปัจจุบัน อดีตและอนาคตนั้นอย่างพะวง
– ไม่ลงมือทำ ก็ยากจะสำเร็จ
– ภาวนาของผู้หวังความพ้นทุกข์
๔. ไตรลักษณ์ กฎธรรมชาติของสิ่งทั้งปวง
– หนึ่งชีวิตแสนสั้น เร่งทำดีให้ทันก่อนสิ้นไป
– อย่าประมาทในชีวิต ความตายตามติดดังเงา
– สร้างกุศลให้มากไว้ ตายไปจักได้พึ่ง
– บัณฑิตไม่ทิ้งธรรม
๕. ร่างกายคือที่อาศัยของโรค
– อยากพบสันติภาพในกายใจ ให้กำจัดกิเลส
– วางเหตุได้ ใจสงบ เป็นกลาง
๖. ช่วยตนให้พ้นทุกข์คือเป้าหมายสูงสุดของการเกิด
– เกิดเป็นคนไม่ง่าย อย่าให้ตายเปล่า
– กายใจเป็นของกลาง ใช้สร้างทั้งบาปบุญ
– น้อมจิตพิจารณากาย ปฏิบัติธรรมได้ตลอดเวลา
– ฝึกอบรมจิตเนืองนิตย์ ชีวิตเป็นสุข
– พิจารณาให้เห็นทุกข์ จะไม่ทุกข์
– ปล่อยวางได้ ใจก็เป็นสุข
– ทำใจให้เหมือนแผ่นดินและน้ำ
๗. รู้อริยสัจ คือทางตัดทุกข์
– สติคือแก่นแท้ของธรรม
๘. เร่งละบาป ทำดี ชำระจิตให้ผ่อนใส
– เช้าสายบ่ายค่ำ ให้มีสติอยู่ประจำใจ
– มีสติอยู่เสมอ อย่าเผลอประมาท
– สมาทานไตรสิกขาศึกษาศีลสมาธิปัญญา