สารบัญ
๑. “ไตรสิกขา” มีความสำคัญเพื่อการดับทุกข์อันเกิดจากอุปาทาน
– ทุกข์ที่เกิดจากอุปาทานมีหลายระดับ จึงต้องมีวิธีแก้ ๓ ชั้น ศีล สมาธิ ปัญญา
– ชั้นที่ ๑ “ศีล” การประพฤติกาย วาจา ไม่ให้เกิดโทษ ทั้งแก่ตนและผู้อื่น
– ชั้นที่ ๒ “สมาธิ” การฝึกบังคับจิต ให้อยู่ในภาวะที่พร้อมทำหน้าที่
– ชั้นที่ ๓ “ปัญญา” ความรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงตามที่เป็นจริง
– ความเข้าใจกับความรู้แจ้ง แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
– ความเห็นแจ้งต้องเกิดจากประสบการณ์ มีผลทำให้จิตเบื่อหน่าย คลายจากสิ่งยึดถือ
– ความเบื่อหน่ายกับความเห็นแจ้ง แยกจากกันไม่ได้
– ความพ้นทุกข์มีได้เพราะความเห็นแจ้ง ไม่ใช่เพราะความเข้าใจตามหลักเหตุผล
– ความรู้แจ้ง มีได้เพราะดำเนินตามสีลสิกขา สมาธิสิกขา ปัญญาสิกขา
– คำว่า “สิกขา” หมายถึง การลงมือปฏิบัติด้วยกาย วาจา ใจ จริง มิใช่การขีดเขียนท่องจำ
๒. “สีลสิกขา” ข้อปฏิบัติเบื้องต้นเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ความรู้แจ้ง
– ศีล ช่วยให้ชีวิตสงบสุข เป็นฐานสำคัญของการทำสมาธิ
– ผู้ที่มีชีวิตปรกติสุข จะทำสมาธิก็ทำได้ง่าย
– ศีลที่ดี จะต้องเป็นศีลที่ขัดเกลาความประพฤติ จนเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า
– ศีลตามแบบของพระอริยเจ้าเทานั้น จึงจะเป็นที่ตั้งที่เจริญของสมาธิ
๓. “สมาธิ” ขั้นฝึกฝนอบรมจิตให้พร้อมแก่การนำไปใช้ประโยชน์
– สมาธิมีประโยชน์มาก จำเป็นแก่งานและบุคคลทุกประเภท
– สมาธิที่ได้รับการฝึกฝน ใช้ประโยชน์ได้มากกว่าสมาธิตามธรรมชาติ
– ผู้ฝึกฝนสมาธิย่อมบังคับจิตให้มีสมรรถภาพเหนือคนธรรมดาจะทำได้
– สมาธิเป็นคุณธรรมพิเศษ ย่อมให้ผลตอบแทนที่พิเศษ
– โลกยิ่งวุ่น สมาธิยิ่งจำเป็น
๔. ฝึกสมาธิถูกต้อง “ปัญญา” คือความเห็นแจ้งก็เกิด
– เมื่อจิตไม่พร้อม ปัญหาเกิด ก็ยากจะแก้
– จิตพร้อม ปัญญาเกิด ปัญหาก็แก้ได้
– พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกข์และดับทุกข์ได้ ก็ด้วยจิตตั้งมั่นในสมาธิ
– ปัญหายากง่าย แก้ได้สบายด้วยสมาธิ
– จะแก้ปัญหา สมาธิและปัญญาต้องสัมพันธ์กัน
– ได้สมาธิ เพราะอาศัยปัญญา ปัญญาแก่กล้า เพราะสมาธิเป็นฐาน
– คนที่มีปัญญานำหน้า สมาธิคอยหนุน คิดการใดก็ว่องไวเฉียบคม
– คนที่มีสมาธินำหน้า ปัญญาคอยหนุน จะรัดกุมรอบคอบ
– ชีวิตปลอดภัย เพราะใช้ปัญญาและสมาธิอย่างกลมกลืน
๕. ความเห็นแจ้ง จนเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายคลายจากสิ่งที่หลง คือ ปัญญาในพุทธศาสนา
– เมื่อจิตเบื่อหน่าย ก็เป็นอิสระ พ้นจากการเป็นทาสของสิ่งทั้งปวง
– เมื่อหลุดพ้นจากความเป็นทาส จิตก็ถึงความบริสุทธิ์
– ความบริสุทธิ์แห่งจิต เป็นผลของปัญญาโดยแท้
๖. “ไตรสิกขา” เป็นหลักปฏิบัติที่สามารถตัดอุปาทาน ถอนตนจากความเป็นทาสได้จริง
– หลัก “ไตรสิกขา” ไม่ค้านกับศาสนาใด แต่ลึกซึ้งและวิเศษยิ่งกว่า
– ไตรสิกขา เป็นธรรมสากล คน สัตว์ เทวดา ก็ปฏิบัติได้
“แวะเล่าชาดก” : มักกฏชาดก ว่าด้วยลิงเจ้าเล่ห์
“ธรรมะสวัสดี” : ความจริงของชีวิต
“ความสุข” จากการเจริญสติด้วย “พุทโธ” ในชีวิตประจำวัน