ทุกข์มีไว้ให้เรียนรู้ไม่ได้มีไว้ให้เป็นดังนั้น เมื่อมีทุกข์อย่าแบกทุกข์ไว้จงเรียนรู้มันและปล่อยวางมันเสีย
ความทุกข์เปรียบเสมือนหินก้อนโต ยิ่งเราแบกไว้นานเท่าใด ก็จะยิ่งทำร้ายเราหนักทวีขึ้นทุกทีๆ ที่สุดแล้วเราก็จะถูกความทุกข์ทับจนตาย
ดูตัวอย่างหนังสือ (ดูเต็มจอได้)
สารบัญ
ปล่อยวางอย่างชาวพุทธ
– จงพึ่งตัวเอง
– เจ็บแล้วต้องจำ
– ความผิดเป็นอาจารย์ผู้วิเศษ
– เตือนใจอยู่เสมอทุกขณะว่าอย่าทำผิดพลาดอีก
– ผู้รู้ทางโลกและผู้รู้ทางธรรมต่างผ่านพ้นอุปสรรคความผิดพลาดมาแล้วทั้งนั้น
– Let it go ปล่อยไป
– Get it Out ออกไป
– ความไม่สบายใจ เป็นศัตรู เป็นมาร ทำให้ใจไม่สงบ
– ต้องฝึกให้จิตใจแช่มชื่นรื่นเริงเกิดปีติปราโมทย์ เป็นสุขสบายอยู่เสมอ
– มี สติ คุ้มครองกาย วาจาใจ อยู่ทุกขณะจะทำอะไรก็ไม่ผิดพลาด
– ยังมีสติอยู่ตราบใดถึงตายก็ตายแต่กาย
– มีสติไพบูลย์อยู่ทุกขณะจิตจักถึงซึ่งอมตธรรม
– เพราะฉะนั้นควรฝึกฝนสติสัมปชัญญะ
– ชนะกิเลสได้ด้วยอานุภาพของศีล สมาธิ ปัญญา
– ศึกษาและปฏิบัติศีล สมาธิ ปัญญาพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้แน่นอน
– ขอให้เป็นดังดอกมะลิคือทำตัวเราให้ดีที่สุด
– จงทำแต่กรรมดี
– ผู้ที่ความสุขความเจริญคือผู้ที่ทำแต่กรรมดี
– ความสุขสงบทำได้ง่ายๆ เกิดกับกายใจของเรานี่เอง
– เมื่อใจสงบ กายก็สงบ
– เมื่อรู้เห็นตามความเป็นจริงด้วยปัญญาจิตใจจะเข้มแข็ง
– รักษาใจให้เป็นอิสระมั่นคงอยู่เสมอใจจักเป็นสุข
– วิธีสร้างเสน่ห์ให้ตัวเอง
– ถ้าต้องการให้คนอื่นเมตตาเราเราก็ต้องเมตตาคนอื่นด้วย
– วิธีประสบแต่โชคลาภมีเงินทองใช้ ไม่ยากจน