ความทุกข์เป็นเหมือนน้ำร้อนเราคิดให้มันเป็นทุกข์
ก็เหมือนเอาน้ำร้อนมารดตัวตั้งแต่หัวถึงเท้า ถลอกปอกเปิก
เป็นคนดำๆ ด่างๆมันจะได้เรื่องอะไร
เราไม่ควรจะคิดเช่นนั้นเมื่อมีอะไรเกิดขึ้นเฉพาะหน้า
ให้พยายามคิดว่า“ดีแล้ว” “พอแล้ว”
หรือ “เท่านี้ก็ดีถมไปแล้ว”อย่างนี้ใจก็สบายพระธรรมโกศาจารย์
(ปัญญานันทภิกขุ)
ดูตัวอย่างหนังสือ (ดูเต็มจอได้)
สารบัญ
มองทุกข์ให้เห็น จึงเป็นสุข
– ที่สุดของความทุกข์
– ความจริง “ความไม่จริง” ความมี “ความไม่มี”
– วันนี้เจ้าอยู่กับฉัน พรุ่งนี้มันไม่แน่
– มันเป็นเช่นนั้นเอง
– สร้างความพอใจเฉพาะหน้า
– มองทุกอย่างตามความเป็นจริง
– ใช้ธรรมะเป็นแว่นส่องในการมอง
– ฟังแล้วคิดพิจารณา
– พูดและฟังด้วยใจสงบ จะพบปัญญา
– อย่าพูดอวดตัว อวดกิเลส อันเป็นเหตุทำให้ไร้สาระ
– พูดด้วยปัญญา นำมาซึ่งประโยชน์
– ธรรมนูญสำหรับชีวิต
– ทุ สะ นิ มะ หัวใจอริยสัจ
– หัวใจนี้ มีไว้ให้ระลึกถึงตัวจริง
– ทุกข์กาย และ ทุกข์ใจ
– ขันธ์ ๕ คือกองแห่งทุกข์
– แหล่งเกิดความทุกข์
– ความยึดถือในใจ ทำให้เกิดทุกข์
– ทุกข์เกิดจากการยึดถือคือชาติ
– ชะราปิ ทุกขา ความแก่ชราเป็นทุกข์
– ทุกข์เกิด เพราะไม่ยอมรับความแก่
– เราหนีความแก่ไม่พ้น
– ความเจ็บป่วยเป็นความทุกข์
– อย่าประมาทในชีวิต
– ป่วยกาย อย่าป่วยใจ
– ป่วยกายให้หมอเยียวยา รักษาใจเป็นหน้าที่ของเรา
– เราไม่ได้เจ็บป่วยคนเดียว
– ระทมตรมใจ เพราะไปคิดถึงอนาคต
– หนุนจิตใจให้เข้ากับปัจจุบันกาล
– อย่าทำใจให้เป็นทุกข์
– การพลัดพรากจากสิ่งที่รักเป็นทุกข์
– ไม่มีใครหนีความตายพ้น
– เตรียมตัวก่อนตาย จะได้ไม่ทุกข์
อานิสงส์การสร้างหนังสือแจกเป็นธรรมทาน