โพชฌงค์ ๗ ถือเป็นหลักธรรมที่มีความสำคัญยิ่งในหลายๆ หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงมอบเป็นของขวัญสำหรับดำเนินไปสู่ความพ้นทุกข์ ดังพระพุทธดำรัสว่า
“โพชฌงค์ ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้สมบูรณ์แล้ว จะยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์”
นอกจากนี้ โพชฌงค์ ๗ ยังเป็นธรรมที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บสำหรับผู้ป่วยได้อีกด้วย
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้ จักช่วยนำทางให้ท่านพ้นจากความเจ็บไข้และความทุกข์ ประสบสุขตามสมควรแก่การปฏิบัติ
ดูตัวอย่างหนังสือ (ดูเต็มจอได้)
สารบัญ
– เมื่อปีติเกิดขึ้นในใจความเจ็บไข้ก็บรรเทา
– พระอรหันต์หายป่วยเพราะฟังโพชฌงค์ ๗
– การฟังช่วยให้ตรึกธรรมได้ง่ายขึ้น
– ความลึกแห่งธรรม ปุถุชนหยั่งรู้ได้ยาก
– โพชฌงค์ฐานสู่วิชชาและวิมุตติ
– สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นไม่ใช่ตัวเราของเรา
– เมื่อเหตุปัจจัยไม่เที่ยง ผลจะเที่ยงได้อย่างไร
– เวทนาเกิดจากเหตุปัจจัยคือผัสสะ
– เพราะผัสสะไม่เที่ยงเวทนาจึงไม่เที่ยงไปด้วยกัน
– วิมุตติ หลุดพ้นได้ ไม่จำกัดกาล
– ปหาน การละกิเลส ๓ รูปแบบ
– ความหมายแห่งโลกุตตรมรรค
– อริยมรรค ๔ ที่ตัดกิเลสโดยเด็ดขาด
– พระโสดาปัตติมรรคตัดกรรมที่นำไปสู่อบายภูมิ
– เกิดชาติใหม่กิเลสที่ละได้ ไม่กลับคืนมา
– สกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค
– พระอรหัตตมรรค ขจัดกิเลสได้เกลี้ยงเกลา
– โพชฌงค์ที่ ๑ สติสัมโพชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๒ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๓ วิริยสัมโฑชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๔ ปีติสัมโพชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๕ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๖ สมาธิสัมโพชฌงค์
– โพชฌงค์ที่ ๗ อุเบกขาสัมโพชฌงค์
– วางเฉย คือไม่ยินดียินร้าย สุขแต่ไม่ยึดติด
– อุเบกขาคือธรรมสร้างสมดุลแก่ธรรมทั้งหลาย
– ขบวนธรรมที่ทำให้โพชฌงค์ ๗ บริบูรณ์
– เจริญโพชฌงค์ให้ก้าวไกลต้องอาศัยวิเวก
– ผู้ที่มีวิเวกก็เหมือนไม้แห้งพร้อมสีให้เกิดไฟ
– รู้ละ สละวาง จึงว่างสบาย
– ยิ่งเอาชนะยิ่งพบความพ่ายแพ้
– ยอมลงปลงได้ ใจเป็นอิสระ หลุดพ้น
บทสวดมนต์
#โพชฌงค์ ๗ ธรรมะรักษาโรค
๑. บทกราบพระรัตนตรัย
๒. บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า
๓. บทไตรสรณคมณ์
๔. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ
๕. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ
๖. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ
๗. บทโพชฌังคปริตร
๘. บทสัพพมงคลคาถา
๙. บทแผ่เมตตาให้ตนเอง
๑๐. บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
๑๑. บทแผ่ส่วนกุสล
๑๒. บทอธิษฐานจิต