หากสามารถฟังเสียงทุกเสียง
เป็นเสียงสวดมนต์ได้
ที่นั้นก็เป็นสวรรค์ เป็นนิพพาน
สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ได้นำธรรมเทศนาของพระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ วัดไตรสิกขาทลามลตาราม จังหวัดสกลนคร มาจัดพิมพ์เป็นเล่ม ทางคณะผู้จัดทำได้ทำหัวข้อ ย่อหน้า เน้นคำ และวาดภาพประกอบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย รวดเร็ว และลึกซึ้งยิ่งขึ้น
ดูตัวอย่างหนังสือ (ดูเต็มจอได้)
สารบัญ
เสียงสวดมนต์ในพงหญ้า
– ฟังเสียงกล่อมจากพงไพร สงบหรือวุ่นวายอยู่ที่ใจ ไม่ใช่ภายนอก
– ผิวน้ำกระเพื่อมไหว เพราะสายลม จิตหวั่นไหวเพราะอารมณ์มากระทบ
– ธรรมชาติที่มีอยู่ ล้วนเป็นครูสอนธรรม
– ถ้าจิตดีจะมีเมตตาต่อทุกสรรพสิ่ง
– ให้เสียงธรรมชาตินำใจสูสมาธิ
– ฟังทุกเสียงให้เป็นเสยงสวดมนต์ ได้ชื่อว่าพาตนสูทางนิพพาน
– คนไม่รู้ แล้วไม่พยายามที่จะรู้ เป็นคนน่าสงสาร
– มนุษย์ทั้งผองพี่น้องกัน เมตตาให้อภัย อย่าจุดไฟเผาผลาญ
– เมื่อจิตมีเมตตาแล้วไซร้ เสียงหรีดหริ่งเรไรก็ชวนฟัง
– มหายาน คือยานใหญ่ นำคนไปสู่นิพพานได้มาก
– เจ ภาษาจีน แปลว่า ไม่กินเนื้อ
– เจ ภาษาบาลี แปลว่า ถ้า (If)
– เจแท้ กินแค่ตามมีตามเกิด
– กินอาหารให้เหมือนทานบุตร เพื่อหยุดความมัวเมา
– พระโพธิธรรมพยักหน้า-สายหน้า ขณะฟังธรรม
– พระโพธิธรรมรู้แจ้งความคิดพระจีน
– พระจีนติดตามขอขมา
– พระจีนถูกทดสอบศรัทธา
– พระจีนตัดแขนเพื่อแสดงศรัทธา
– เมื่อจิตไม่มี ความสกปรกของจิตย่อมไม่มี
– เห็นสุญญตาในตัวตน ก็หลุดพ้นจากความยึดถือ
– แว่วเสียงสวดมนต์จากพงหญ้าริมทาง
– ฟังด้วยใจสงบ จะค้นพบเสียงที่ไพเราะ
– ฟังเสียงอย่างมีสติ จะเกิดสมาธิอันลุ่มลึก
– เมื่อสมาธิลุ่มลึก อาจรู้สึกได้ถึงเสียงทิพย์
– พระโพธิธรรมใช้จิตพิจารณาถึงที่มาของเสียงสวดมนต์
– ศีลและธรรม ต้องมีควบคู่กัน
– สะสมกรรมเช่นใด ย่อมติดเป็นอุปนิสัยไปเช่นนั้น
– ความยึดมั่นถือมั่น นั่นคือเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง
– พระโพธิธรรม ระลึกย้อนถึงอดีตกรรมของแมลง
– สมณะที่ดีต้องทำตัวเหมือนสะใภ้ใหม่ในเรือน
– พระชอบสวดมนต์บทที่รัก หนุ่มสาวก็มักร้องเพลงที่ชอบ
– สมณะที่ดีต้องมีสติสำรวม
– สำรวมทุกขณะจิต พิจารณาทุกอิริยาบถ คือความงดงามแห่งสมณะ
– ถือศีลแบบขาดปัญญา ก็นำพาสูความมัวเมา
– เรื่องหมูๆ ที่นำสู่จุดเริ่มต้นแห่งกรรม
– หลวงจีนต้องเลือกระหว่างศีลกับธรรม
– หลวงจีนยอมเสียธรรม ไม่ยอมเสียศีล
– หลวงจีนถูกวิญญาณหมูฟ้องร้อง
– หากผู้พิพากษาเป็นม้าสองปาก ก็ยากจะหาความยุติธรรมได้
– หลวงจีนตระหนี่บุญ
– เพราะแรงแห่งความยึดมั่น ผลักดันให้ไปเกิดเป็นหมู
– ฆ่าตัวตายยิ่งกลายเป็นเรื่องใหญ่
– ยอมไปเกิดเป็นไก่ แต่ไม่ยอมให้ส่วนบุญ
– ไม่รู้จักบาป จึงทำบาปโดยขาดจิตสำนึก
– เกิดเป็นแมลงเพราะอำนาจแห่งความหวงบุญ
– จิตใจดีมีปัญญา หาความสุขได้รอบตัว
– มองแต่แง่ลบ ก็ยากจะพบความสุข
– มุ่งร้ายจักเป็นทุกข์ อยากมีสุขให้คิดดี
– ลองเปลี่ยนทัศนะ จะพบคุณค่าของสิ่งรอบตัว
– ทำดีให้มีค่า อย่าเป็นข้าความดี
– ทำความดีเพื่อความดี อย่าอวดดี
– ทำความดีแล้วปล่อยวาง จักห่างจากความทุกข์
– ปรารถนาความหลุดพ้น ต้องฝึกตนให้ปล่อยวาง
– ละความยึดมั่นในขันธ์ ๕ จักนำพาสู่สุคติ