สารบัญ
ทางพ้นทุกข์
– ชีวิตขาดเป้าหมาย จะกลายเป็นคนโลเล
– อธิษฐานบารมี คือ ตั้งเป้าในทางดีแล้วลงมือทำ
– การทำดี ควรมีเป้าหมาย เพื่อมรรค ผล นิพพาน
– เมื่ออธิษฐานจิตสู่มรรคผล ย่อมได้ยลทรัพย์แม้ไม่อธิษฐาน
– เข้าใจนิพพานผิด ชีวิตก็ติดอยู่ในทุกข์
– เมื่อปรารถนาจะเกิดอีก ก็ไม่อาจหลีกออกจากกองทุกข์
– นิพพานเป็นขันธวิมุตติ คือ หลุดจากการยึดมั่นในขันธ์ 5
– เพราะดับกิเลสได้ จึงมีแต่ทุกข์กาย ไร้ทุกข์ใจ
– เพราะแน่นด้วยกิเลส จึงเป็นเหตุให้ทุกข์ทั้งกายใจ
– ใจที่มีกิเลส เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ทางกาย
– ทรมานร่างกาย มิอาจทำลายกิเลสเหตุแห่งทุกข์
– ตัดทุกข์ ต้องตัดตัณหา ตัดหญ้า ต้องตัดรากถอนโคน
– หน้าที่ต่อทุกข์ คือ กำหนดรู้อย่างวางเฉย
– คิดอยากทำลายทุกข์เท่ากับกำลังเจริญตัณหา
– จะกำหนดรู้ทุกข์ได้ ต้องรู้จักรูปและนามก่อน
– แม้รู้สึกเป็นสุข ก็จัดเป็นทุกข์โดยลักษณะ
– กำหนดรู้ทุกสภาวธรรม คือ ขั้นตอนทำความรู้จักทุกข์
– เมื่อกำหนดรู้ตัวทุกข์ได้ ต่อไปให้กำหนดรู้ลักษณะของรูปนาม
– รูปนามแต่ละอย่างมีลักษณะต่างกันไป ต้องใส่ใจสังเกตให้ดี
– รอบรู้สิ่งปรุงแต่งจิต เพื่อปิดอกุศล
– จิตคิดเปลี่ยนแปลง ตามการปรุงแต่งแห่งสังขาร
– สิ่งที่ปรุงแต่งจิต ต้องพินิจให้รู้แจ้ง
– ธรรมชาติทั้งมวล ล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
– เมื่อเห็นไตรลักษณ์ในรูปนาม ความรู้เห็นตามเป็นจริงก็เกิด
– ทุกสิ่งล้วนเป็นธรรมชาติ เกิดดับ บังคับไม่ได้ ไม่ใช่ตัวตนเราเขา
– เมื่อเกิดกิเลสต้องวางใจให้ถูก จึงจะได้ประโยชน์
– ไม่ปล่อยวาง ก็ยากจะพบทางแห่งความสงบ
– รู้ฟุ้งอย่างปล่อยวาง จิตย่อมสว่างดีงามขึ้น
– จิตเป็นกุศลย่อมผ่องใส และ เป็นศิลปะในการดับทุกข์
– ที่สุดแห่งการดับทุกข์ คือ รู้ทุกข์แต่ไม่ทุกข์ด้วย
– ปฏิบัติต่อความคิดอย่างเข้าใจ จะทำให้จิตคลายหายฟุ้งซ่าน
– รู้ฟุ้งแล้ววาง เท่ากับว่างจากตัณหา
– เกิดปีติสุขแล้วยินดี คือ ตัวตัณหาที่ต้องปล่อยวาง
– มาแบบมิตรหรือศัตรู ต้องรู้ให้ทันกิเลส
– ทั้งดีและไม่ดี ถ้าถือมั่น มันก็ไม่ดี
– กำหนดรู้ทุกข์ได้ เท่ากับทำลายตัณหาด้วย
– ทุกข์กายไม่ทุกข์ใจ เราทำได้ ถ้าฝึกหัด
– ปริญญาสามขั้น คือ หลักการประหารทุกข์
– ละเหตุให้เกิดทุกข์ได้เมื่อใด ความพ้นทุกข์ก็ปรากฏกายเมื่อนั้น
– จงพากเพียรพัฒนาตน จนกว่าจะหลัดพ้นจากทุกข์เถิด